ดร.จันทนี มุ่งเขตกลาง
ตำแหน่ง : นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการพิเศษ
ความเชี่ยวชาญตามวิชาชีพ : จิตวิทยาคลินิก
ประสบการความเชียวชาญ : 20 ปี
ความสนใจด้านงานวิจัย :
1. การประเมินและตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยาคลินิก
2. การประเมินทางจิตประสาทวิทยา
3. การบำบัดในเด็กกลุ่มโรคพัฒนาการระบบประสาท
4. การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
งานวิจัยปัจจุบัน
1. พัฒนาแบบประเมินทักษะการปรับตัวราชานุกูล
2. การพัฒนาระบบหุ่นยนต์โตตอบอัตโนมัติราชานุกูล: สำหรับผู้ปกครองของเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า
3. สถานการณ์ ภาระ และความต้องการของผู้ดูแลบุคคลที่มีความบกร่องทางสติปัญญาและออทิสติก
งานวิจัยที่ผ่านมา
1. The characteristics of the colored progressive matrices (CPM) and the advanced progressive matrices (APM) in Thai students age 6-18 years old: Bangkok (The Metropolitan)
2. ประสิทธิผลของโปรแกรมประมวลผลสำหรับแบบประเมินพฤติกรรมการปรับตัวของไวน์แลนด์ กลุ่มงานจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล.
3. การวิจัยนำร่องการศึกษาระดับความสามารถทางเชาวน์ปัญญาในเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้และเด็กปกติด้วยแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา Leiter international performance scale-revised (Leiter-R).
4. ลักษณะคะแนนจากแบบทดสอบ The Wechsler Intelligence Scale for Children-Fourth Edition (WISC-IV) ของผู้รับบริการสถาบันราชานุกูล
5. เปรียบเทียบการใช้แบบทดสอบ Stanford Binet Intelligence Scale-Fifth Edition และ Wechsler Nonverbal Scale of ability ในเด็กออทิสติกที่มีความบกพร่องด้านวุฒิภาวะทางสังคม
6. ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้เวลาหน้าจออิเล็กทรอนิกส์และคุณภาพชีวิตในเด็กกลุ่มโรคพัฒนาการระบบประสาทและกลุ่มโรคจิตเวชเด็กอื่นๆ ที่รับบริการในสถาบันราชานุกูล
7. Cognitive Profiles in Intellectual Disability
8. Working memory as a Limitation on Problem Solving Ability in Intellectual Disability
9. Comparison of Measures of Ability in Adolescents with Intellectual Disability
10. Eye Movements During Rapid Naming Tasks Predict Reading Ability
11. เปรียบเทียบการใช้แบบทดสอบ Stanford Binet Intelligence Scale-Fifth Edition และ Wechsler Nonverbal Scale of ability ในเด็กออทิสติกที่มีทักษะการปรับตัวบกพร่อง
12. การพัฒนาต้นแบบโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการออนไลน์ กรณีศึกษาสถาบันราชานุกูลในช่วงการระบาดไวรัส COVID-19
งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์
1. ประเสริฐ จุฑา จันทนี มุ่งเขตกลาง อัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล และปราณี ต๊ะวิไล. ประสิทธิผลของโปรแกรมประมวลผลสำหรับแบบประเมินพฤติกรรมการปรับตัวของไวน์แลนด์ กลุ่มงานจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล. วารสารราชานุกูล. ปีที่ 25 (มกราคม 2553-ธันวาคม 2553).
2. วนิดา ชนินทยุทธวงศ์ ประเสริฐ จุฑา จันทนี มุ่งเขตกลาง และอัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล. (2555). การวิจัยนำร่องการศึกษาระดับความสามารถทางเชาวน์ปัญญาในเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้และเด็กปกติด้วยแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา Leiter international performance scale-revised (Leiter-R). วารสารสถาบันราชานุกูล ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2555).
3. Katrina, T., Nahal, G., Chantanee, M., Lamp, G., Brown, A., & Sheila, C. (2012). Cognitive Profiles in Intellectual Disability. Front. Hum. Neurosci. Conference Abstract: ACNS-2012 Australasian Cognitive Neuroscience Conference. doi: 10.3389/conf.fnhum.2012.208.00170
4. Nahal, G., Katrina, T., Chantanee, M., Melanie, M., & Sheila, C. (2013). Working memory as a Limitation on Problem Solving Ability in Intellectual Disability. Frontiers in Human Neuroscience, 7. doi: 10.3389/conf.fnhum.2013.212.00146
5. Mungkhetklang, C., Crewther, S. G., Bavin, E. L., Goharpey, N., & Parsons, C. (2016). Comparison of Measures of Ability in Adolescents with Intellectual Disability. Frontiers in Psychology, 7(MAY). doi:10.3389/fpsyg.2016.00683
6. Mungkhetklang, C., Bavin, E. L., Crewther, S. G., Goharpey, N., & Parsons, C. (2016). The Contributions of Memory and Vocabulary to Non-Verbal Ability Scores in Adolescents with Intellectual Disability. (Report)(Author abstract). Frontiers in Psychiatry, 7. doi:10.3389/fpsyt.2016.00204
7. Crewther Sheila, Jessica Peters, Nahal Goharpey, Jessica Taylor, Chantanee Mungkhetklang, Daniel Crewther, and Robin Laycock. "Eye Movements During Rapid Naming tasks Predict Reading Ability." Journal of Vision 17, no. 10 (2017): 539-539.
8. จันทนี มุ่งเขตกลาง และสุชารัตนน์ลิมปะนพรัตน์. (2565). เปรียบเทียบการใช้แบบทดสอบ Stanford Binet Intelligence Scale-Fifth Edition และ Wechsler Nonverbal Scale of ability ในเด็กออทิสติกที่มีทักษะการปรับตัวบกพร่อง. วารสารราชานุกูล ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 (2022): กรกฎาคม - ธันวาคม 2565
9. นิรมัย คุ้มรักษา, จันทนี มุ่งเขตกลาง และรัชดาวรรณ์ แดงสุข. (2567). การพัฒนาต้นแบบโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการออนไลน์ กรณีศึกษาสถาบันราชานุกูลในช่วงการระบาดไวรัส COVID-19. วารสารสุขภาพจิต ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (2023): ตุลาคม - ธันวาคม 2566.
งานวิจัยที่ได้นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
1. November, 2005: The Characteristic of the Colored Progressive Matrices (CPM) and The Advanced Progressive Matrices (APM) in Thai Students Age 6-18 Years Old at The 28th Annual Conference, Thai Clinical Psychologist Association, Bangkok Thailand.
2. July, 2011: The Pilot Study of Intelligence Quotient in child with and without Learning disability by Intelligence Testing of Leiter International Performance Scale-Revised (Leiter-R) at The 1st Continuous Quality Improvement (CQI), held in Rajanukul Institute, Bangkok Thailand.
3. July, 2016: Is visual problem solving dependent on vocabulary abilities in individuals with Intellectual Disability? at Asia Pacific Conference on Vision 2016, Perth Australia.
4. Aug, 2016: Comparing measures of ability in adolescents with Intellectual Disability at International Association for the Scientific Study of Intellectual and Developmental Disabilities (IASSIDD), Melbourne Australia.
5. Sep, 2016: The extent to which memory and vocabulary contribute to score on assessments of nonverbal ability at The 22nd International Association for Children and Adolescent Psychiatry and Allied Professions World Congress and the 36th Annual Conference for the Canadian Academy of Child and Adolescent Psychiatry (IACAPAP 2016), Calgary Canada.
6. May, 2017: The Contribution of Visual Attention to Performance on Tests of Nonverbal Ability in Adolescents with Intellectual Disability with and without Comorbid Autism Spectrum Disorder at International Meeting for Autism Research (IMFAR-2017), San Francisco, USA.
7. May, 2018: Eye-Movement Pattern, Rapid Automatic Naming and Nonverbal IQ Tasks in Adolescents with Intellectual Disability at BIT's 8th Annual World Congress of NeuroTalk-2018, Bangkok, Thailand.
8. July, 2018: Adolescents with Intellectual Disability: Impact of visual attention and eye-movement on tests of nonverbal intelligence and Rapid Automatic Naming at 23rd World Congress for the International Association for Child and Adolescent Psychiatry and Allied Professional, Prague, Czech Republic.
9. July, 2019: The Wechsler Intelligence Scale for Children-Fourth Edition (WISC-IV) profile in children who received service at Rajanukul Institute at 18th Annual International Mental Health Conference “Mental Health in a Changing World: The New Challenges”, Chiang Mai, Thailand.
10. August, 2019: The WISC profile among children with ADHD and ASD with and without ADHD? at The world congress of the International Association for the Scientific Study of Intellectual and Developmental Disabilities (IASSIDD), Glasgow, Scotland.
11. December, 2020: Differences in the WISC-IV profile of children with ADHD and LD with and without ADHD Virtual congress 23rd World Congress for the International Association for Child and Adolescent Psychiatry and Allied Professional, Hosted at Singapore.
หนังสือ บทความหรือเอกสารวิชาการ
1. จันทนี มุ่งเขตกลาง. (2552). การปรับพฤติกรรมเด็ก ตอนที่ 1 เตรียมตัวก่อนปรับพฤติกรรมเด็ก. วารสารราชานุกูล. ปีที่ 24 (มกราคม 2552-ธันวาคม 2552)
2. จันทนี มุ่งเขตกลาง. (2552). การปรับพฤติกรรมเด็ก ตอนที่ 2 สังเกตและวิเคราะห์พฤติกรรม. วารสารราชานุกูล. ปีที่ 24 (มกราคม 2552-ธันวาคม 2552)
3. จันทนี มุ่งเขตกลาง. (2552). การปรับพฤติกรรมเด็ก ตอนที่ 3 การสร้างพฤติกรรมใหม่. วารสารราชานุกูล. ปีที่ 24 (มกราคม 2552-ธันวาคม 2552)
4. นันทพร สามิภักดิ์และจันทนี มุ่งเขตกลาง. (2552). ความบกพร่องด้านทฤษฎีทางจิตใจและการประมวลผลด้านการจดจำทางภาษาในพ่อแม่เด็กออทิสติก. วารสารราชานุกูล. ปีที่ 24 (มกราคม 2552-ธันวาคม 2552)
5. เบญจวรรณ รัฐเสวะ และจันทนี มุ่งเขตกลาง. (2552). โปรแกรมการฝึกทักษะทางสังคมสำหรับเด็กแอสเปอร์เกอร์ซินโดรม: โปรแกรมนักสืบน้อย. วารสารราชานุกูล. ปีที่ 24 (มกราคม 2552-ธันวาคม 2552).
6. นริสรา วงศ์รัตน์ และจันทนี มุ่งเขตกลาง. (2553). การขาดความสามารถทางสังคมของเด็ก ADHD: ความเป็นไปได้ของปัจจัย (Moderators) และกลไก (Mediators) ในการฝึกทักษะทางสังคม. วารสารราชานุกูล. ปีที่ 25 (มกราคม 2553-ธันวาคม 2553).
7. จันทนี มุงเขตกลาง. (2553). การปรับพฤติกรรมเด็ก ตอนที่ 4 การลดพฤติกรรมที่ไม่ต้องการ. วารสารราชานุกูล. ปีที่ 25 (มกราคม 2553-ธันวาคม 2553).
8. ชญาณี กาญจโนภาส และจันทนี มุ่งเขตกลาง. (2553). การมีส่วนร่วมของพ่อแม่ในการเรียนรู้ของลูก: เปรียบเทียบระว่างผู้ปกครองของเด็กโรคสมาธิสั้นและอยู่ไม่นิ่งหรือเด็กที่เป็น ADHD (Attention Deficit/Hyperactivity Disorder) และเด็กปกติ. วารสารราชานุกูล. ปีที่ 25 (มกราคม 2553-ธันวาคม 2553).
9. นิรมัย คุ้มรักษา จันทนี มุ่งเขตกลาง ปรารถนา รัตนถิวรรณ รัชดาวรรณ์ แดงสุข สิทธิสา สะม้อ ปรารถนา พรมวัง ธัญหทัย จันทะโยธา วัลยา บางม่วงงาม ศิริลักษณ์ พงษ์ไทย กาญจนาวดี บูชากูล ปรียสรณ์ อาศรัยราษฎร์ และขวัญทิพย์ โกนาคม. (2566). คู่มือโปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการปกติ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (โปรแกรม TEDA4I Onsite). เข้าถึงได้จาก https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/6054
10. นิรมัย คุ้มรักษา จันทนี มุ่งเขตกลาง ปรารถนา รัตนถิวรรณ รัชดาวรรณ์ แดงสุข สิทธิสา สะม้อ ปรารถนา พรมวัง ธัญหทัย จันทะโยธา วัลยา บางม่วงงาม ศิริลักษณ์ พงษ์ไทย กาญจนาวดี บูชากูล ปรียสรณ์ อาศรัยราษฎร์ และขวัญทิพย์ โกนาคม. (2566). คู่มือโปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการออนไลน์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (โปรแกรม TEDA4I Onsite). เข้าถึงได้จาก https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/6053
การสอน บรรยาย สัมภาษณ์
1. อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. วิทยากรบรรยาย หลักสูตรการปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาคลินิก หัวข้อ พัฒนาการเด็ก/โรคที่เกี่ยวข้อง และการประเมินพัฒนาการ และประชุมวินิจฉัยและการวางแผนดูแลช่วยเหลือเฉพาะกรณีเด็กและเยาวชน
3. วิทยากรบรรยายให้บุคลากรสาธารณสุข หัวข้อ การประเมินทางจิตวิทยา
4. วิทยากรบรรยายให้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรสาธารณสุข หัวข้อ การปรับพฤติกรรม
5. วิทยากรสอนแพทย์ประจำบ้าน และบุคลากรสาธารณสุขอื่นๆ ที่มาศึกษาดูงานด้านพัฒนาการและสติปัญญา