นิรมัย คุ้มรักษา
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพเชี่ยวชาญ
ความเชี่ยวชาญตามวิชาชีพ : พยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น
ประสบการความเชียวชาญ : 36 ปี
ความสนใจด้านงานวิจัย :
การส่งเสริมพัฒนาการเด็กบกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา
งานวิจัยปัจจุบัน
1. สถานการณ์ ภาระ และความต้องการของผู้ดูแลบุคคลที่มีความบกร่องทางสติปัญญาและออทิสติก
2. พัฒนาแบบประเมินทักษะการปรับตัวราชานุกูล (The development of the Rajanukul Adaptive Behavior Scale (RABS)
งานวิจัยที่ผ่านมา
1. ผลของการจัดกลุ่มผู้ปกครองเพื่อช่วยเหลือกันและกันในการฝึกทักษะด้านการช่วยเหลือตนเองของเด็กปัญญาอ่อนระดับรุนแรงถึงรุนแรงมาก อายุ 3-6 ปี ปี 2546
2. การพัฒนาโปรแกรมการฝึกควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะในผู้ป่วยบกพร่องทางสติปัญญาระดับรุนแรง 2561
3. การพัฒนาต้นแบบโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการออนไลน์ กรณีศึกษาสถาบันราชานุกูลในช่วงการระบาดไวรัส COVID-1
งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์
1. นิรมัย คุ้มรักษา. (2540). ผลของกิจกรรมดนตรีที่มีต่อความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับปฐมวัย. วารสารราชานุกูล ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2540.
2. นิรมัย คุ้มรักษา, วาธิษา โนภิระ และทหัยกาญจน์ เกี้ยวสันเทียะ. (2553). ผลของโปรแกรมราชา 2010 ที่มีต่อการไหลของน้ำลายของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาในหอผู้ป่วยเด็กเล็ก 1 และหอผู้ป่วยเด็กเล็ก 2 ในสถาบันราชานุกูล (R to R 2553). วารสารราชานุกูล ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554.
3. นิรมัย คุ้มรักษา, พรพิมล ธีรนันท์, ศุภรพรรณ ศรีหิรัญรัศมี, บุศรา คูหพันธ์ และเอกชัย เกิดสวัสดิ์. (2557) สภาวการณ์ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 ปี 2557.
4. นิรมัย คุ้มรักษา, รัชดาวรรณ์ แดงสุข และธัญหทัย. (2561).ผลของโปรแกรม TEDA4I ในเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการ ในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารราชานุกูล ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2561.
5. นิรมัย คุ้มรักษา, จันทนี มุ่งเขตกลาง และรัชดาวรรณ์ แดงสุข. (2567). การพัฒนาต้นแบบโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการออนไลน์ กรณีศึกษาสถาบันราชานุกูลในช่วงการระบาดไวรัส COVID-19. วารสารสุขภาพจิต ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (2023): ตุลาคม - ธันวาคม 2566.
งานวิจัยที่ได้นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
1. รางวัล Full paper ระดับดี จากงานประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ กรมสุขภาพจิต ปี 2557 เรื่อง “สภาการณ์ส่งเสริมพัฒนาการ”
2. ผลการตรวจติดตามคุณภาพการคัดกรองพัฒนาการเด็ก 4 ช่วงอายุด้วยคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย: Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) เขตสุขภาพที่ 5 ปี 2558 นำเสนอแบบ Oral presentation ในการประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 15 และการประชุมวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็ก ครั้งที่ 13 ประจำปี 2559 เรื่อง “สติ วิถีแห่งสุขภาพดี” (Mindfulness For Healthy Lives) ระหว่างวันที่ 8-10 มิถุนายน 2559
3. ผลของโปรแกรม TEDA4I ในเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการล่าช้าในจังหวัดกาญจนบุรี นำเสนอในการประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 17 และการประชุมวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็ก ครั้งที่ 15 ประจำปี 2561 ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-3 สิงหาคม 2561
4. รางวัลงานวิจัยดีเด่น การนำเสนอผลงานวิชาการการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ในการประชุมวิชาการ สมาคมจิตเวชแห่งประเทศไทย ประจำปี 2561 เรื่อง “การพัฒนาโปรแกรมการฝึกควบคุมการ
ขับถ่ายปัสสาวะในผู้ป่วยบกพร่องทางสติปัญญาระดับรุนแรง”
5. การพัฒนาแบบวัดความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันพื้นฐานของผู้ป่วยบกพร่องทางสติปัญญาระดับรุนแรงถึงรุนแรงมาก นำเสนอผลงานรูปแบบ Oral presentation งานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2564 (Thailand Research Expo 2021)
หนังสือ บทความหรือเอกสารวิชาการ
1. หนังสือ กิน กอด เล่น เล่า (2ก2ล) กับลูกอายุ 0-2 ปี, อายุ 3-5 ปี และอายุ 0-5 ปี
2. คู่มือครอบครัวสัมพันธ์
3. คู่มือการจัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพเด็กวัยเรียน
4. คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
5. คู่มือประเมินเพื่อช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาพัฒนาการ (Thai Early Developmental Assessment for Intervention : TEDA4I)
6. คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี สถาบันราชานุกูล (ฉบับปรับปรุง)
การสอน บรรยาย สัมภาษณ์
1. การใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย: Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
2. การใช้คู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง: Developmental Assessment For Intervention Manual (DAIM)
3. การใช้คู่มือประเมินเพื่อช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาพัฒนาการ (Thai Early Developmental Assessment for Intervention : TEDA4I)
4. การใช้คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี สถาบันราชานุกูล (DSI)
5. การใช้เครื่องมือประเมิน/คัดกรอง และส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กกลุ่มวัยเรียน
6. โปรแกรมเสริมพลังครูเพื่อการปรับพฤติกรรมเด็กวัยเรียน (School and Family Empowerment for Behavior Modification; SAFE B-MOD)
7. การเป็นโค้ชสำหรับบุคลากรการศึกษาในการดูแลปัญหาสุขภาพจิตในนักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา (HERO Consultant)