ประเสริฐ จุฑา

ตำแหน่ง : นักจิตวิทยาคลินิก

ความเชี่ยวชาญตามวิชาชีพ : จิตวิทยาคลินิก
ประสบการความเชียวชาญ : 34 ปี
ความสนใจด้านงานวิจัย :
1. การส่งเสริมป้องกันและบำบัดรักษาด้านสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น
2. เชาวน์ปัญญา/พัฒนาการ/ปัญหาพฤติกรรมเด็ก
3. การวิจัยเพื่อการส่งเสริมป้องกันและบำบัดรักษาด้านสุขภาพจิตเด็กและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น


งานวิจัยปัจจุบัน

การวิจัยเพื่อปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญาเด็กอายุ 2-15 ปี (งานวิจัยต่อเนื่อง 3 ปี [2561-2563])


งานวิจัยที่ผ่านมา

1. อุ่นเรือน อำไพพัสตร์, อรอนงค์ ปัญญาวงศ์, และประเสริฐ จุฑา. รายงานการศึกษาทัศนคติของมารดาต่อบุตรปัญญาอ่อนกลุ่มอาการดาวน์ (Down syndrome) ในโครงการกระตุ้นพัฒนาการของฝ่ายจิตวิทยา โรงพยาบาลราชานุกูล 2536-2537. กรุงเทพฯ : โรงพยาบาลราชานุกูล, 2537.

2. ประเสริฐ จุทา, ประภาศรี ปัญญาวชิรชัย, และญาดา ปิงเมิอง. ผลกระทบต่อปัญหาพฤติกรรมในเด็กปัญญาอ่อนอายุ 6-11 ปี จากทัศนคติในการอบรมเลี้ยงดูของบิดา-มารดาที่ต่างกัน ปี 2543-2544. วารสารราชานุกูล 2546;18:1,15-28.

3. ประเสริฐ จุฑา. สภาพ ปัญหา และความต้องการในการดำเนินงานสุขภาพจิตสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาสของบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับและไม่ได้รับการอบรมสุขภาพจิตสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส กระทรวงสาธารณสุข [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2545.

4. ประเสริฐ จุฑา. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก สถาบันราชานุกูล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534-2545. วารสารราชานุกูล 2550;22:1,1-14.

5. มณีรัตน์ สุรวงษ์สิน, สดใส คุ้มทรัพย์อนันต์, ประเสริฐ จุฑา, วันทนี ผลสมบูรณ์, และศิโรรัตน์ นาคทองแก้ว. การศึกษาคุณภาพระบบบริการผู้ป่วยนอก สถาบันราชานุกูล ปีงบประมาณ 2552, วารสารราชานุกูล 2553;25:1,16-27.

6. ประเสริฐ จุฑา, จันทนี มุ่งเขตกลาง, อัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล, และปราณี ต๊ะวิโล. ประสิทธิผลของโปรแกรมประมวลผลสำหรับแบบประเมินพฤติกรรมการปรับตัวของไวน์แลนด์กลุ่มงานจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล. วารสารราชานุกูล 2553;25:3,1-16.

7. วนิดา ชนินทยุทธวงศ์, ประเสริฐ จุฑา, จันทนี มุ่งเขตกลาง, และอัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล. การวิจัยนำร่องการศึกษาระดับความสามารถทางเชาวน์ปัญญา ในเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้และเด็กปกติด้วยแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา Leiter International Performance Scale-Revised (Leiter-R). วารสาร
ราชานุกูล 2555; 27:1,1-18.

8. จินตนา หะรินเดช, พิมพาภรณ์ สังข์รัศมี, อำไพ ทองเงิน, สาลิกา โค้วบุญงาม, ประเสริฐ จุฑา, ทัศไนย วงศ์สุวรรณ, ชลอศักดิ์ ลักษณะวงศ์ศรี, ประไพพิศ วงษ์สนิท, และอัจฉรา มุ่งพานิช. รายงานการหาความเชื่อถือได้ (Reliability) ของแบบทดสอบเชาวน์ปัญญากลุ่มเวคสเลอร์ (WAIS-III). กรุงเทพฯ : คณะทำงานวิชาการ โครงการพัฒนาวิชาชีพนักจิตวิทยาคลินิก กรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2555; 2555.

9. ประเสริฐ จุฑา. การศึกษาภาวะโรคร่วมในเด็กบกพร่องทางสติปัญญาที่มารับบริการที่สถาบันราชานุกูลในปี พ.ศ. 2555. วารสารราชานุกูล 2556;28:2,1-13.

10. วีรยุทธ์ ประพันธ์พจน์, นาถอนงค์ บำรุงชน, ประเสริฐ จุฑา, จิรภัทร เปลื้องนุช, และจินตนา กันทนงค์. การศึกษาลักษณะทางคลินิกของผู้รับบริการที่สถาบันราชานุกูล ปี 2556. วารสารราชานุกูล 2557;29:1,53-62.

11. ประเสริฐ จุฑา, ศิวาทิตย์ สุวัฒน์พัฒนา, อมรรัตน์ ศรีผดุง, ณุภัทรณีย์ จิระพิพัฒนากุล, กาญจนา คูณรังษีสมบูรณ์, และวรวรรณ จุฑา. ความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาพฤติกรรมในเด็กและวัยรุ่นไทย : การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี 2556. วารสารราชานุกูล 2560;32:1,1-13.

12. วนิดา ชนินทยุทธวงศ์, ประเสริฐ จุฑา, ศุภรพรรณ ศรีหิรัญรัศมี, และอัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล. การพัฒนาแบบประเมินปัญหาพฤติกรรม ในเด็กบกพร่องทางสติปัญญา กลุ่มงานจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2560;62:4,279-288.

13. จันทร์อาภา สุขทัพภ์, อัมพร เบญจพลพิทักษ์, วนิดา ชนินทยุทธวงศ์, และประเสริฐ จุฑา. ระดับสติปัญญานักเรียนไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2559. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2561;26:3,161-173.

14. ชดาพิมพ์ เผ่าสวัสดิ์, จันทร์อาภา สุขทัพภ์, ประเสริฐ จุฑา, และบุษรา คูหพันธ์. โปรแกรมเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์สำหรับผู้ดูแลเด็กปฐมวัย. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2562;27(1):37-51.
15. ประเสริฐ จุฑา, วนิดา ชนินทยุทธวงศ์, รัตนศักดิ์ สันติธาดากุล, และฉัตรมงคล ฉ่ำมาก. ความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นคู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญาเด็กอายุ 2-15 ปี ฉบับ พ.ศ. 2561. วารสารจิตวิทยาคลินิก 2563; 51(1): 15-29.
16. อัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล, วนิดา ชนินทยุทธวงศ์, ประเสริฐ จุฑา. การปรับปรุงและพัฒนาแบบประเมินพฤติกรรม กลุ่มงานจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา 2564; 15(2): 38-55.
17. วิรัลพัชร กิตติธะระพันธุ์, พิมพ์รภัช วัฒนศึกษา, กฤษฎิกร วังตระกูล, นันทิยา จีระทรัพย์, ประเสริฐ จุฑา, อภิชา ฤทธาทิพย์, กุสุมาวดี คำเกลี้ยง. การสูญเสียปีสุขภาวะจากการเจ็บป่วยด้วยโรคกลุ่มจิตเวชเด็กและวัยรุ่น 3 โรคหลักในประเทศไทย. วารสารการสร้างเสริมสุขภาพไทย, ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566, 119-128
18. ณิชวรรณ จงรักษ์ธนกิจ, มธุรดา สุวรรณโพธิ์, จันทร์อาภา สุขทัพภ์, ประเสริฐ จุฑา, รัชดาวรรณ์ แดงสุข. ระดับสติปัญญานักเรียนไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 : การสำรวจระดับชาติ พ.ศ. 2564. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2566;31(1):1-11.



งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์

1. ผลกระทบต่อปัญหาพฤติกรรมในเด็กปัญญาอ่อนอายุ 6-11 ปี จากทัศนคติในการอบรมเลี้ยงดูของบิดา-มารดาที่ต่างกัน ปี 2543-2544. วารสารราชานุกูล 2546;18:1,15-28.
2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก สถาบันราชานุกูล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534-2545. วารสารราชานุกูล 2550;22:1,1-14.
3. การศึกษาคุณภาพระบบบริการผู้ป่วยนอก สถาบันราชานุกูล ปีงบประมาณ 2552, วารสารราชานุกูล 2553;25:1,16-27.
4. ประสิทธิผลของโปรแกรมประมวลผลสำหรับแบบประเมินพฤติกรรมการปรับตัวของไวน์แลนด์กลุ่มงานจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล. วารสารราชานุกูล 2553;25:3,1-16.
5. การวิจัยนำร่องการศึกษาระดับความสามารถทางเชาวน์ปัญญา ในเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้และเด็กปกติด้วยแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา Leiter International Performance Scale-Revised (Leiter-R). วารสารราชานุกูล 2555; 27:1,1-18.
6. การศึกษาภาวะโรคร่วมในเด็กบกพร่องทางสติปัญญาที่มารับบริการที่สถาบันราชานุกูลในปี พ.ศ. 2555. วารสารราชานุกูล 2556;28:2,1-13.
7. การศึกษาลักษณะทางคลินิกของผู้รับบริการที่สถาบันราชานุกูล ปี 2556. วารสารราชานุกูล 2557;29:1,53-62.
8. ความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาพฤติกรรมในเด็กและวัยรุ่นไทย : การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี 2556. วารสารราชานุกูล 2560;32:1,1-13.
9. การพัฒนาแบบประเมินปัญหาพฤติกรรม ในเด็กบกพร่องทางสติปัญญา กลุ่มงานจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2560;62:4,279-288.
10. ระดับสติปัญญานักเรียนไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2559. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2561;26:3,161-173.
11. โปรแกรมเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์สำหรับผู้ดูแลเด็กปฐมวัย. วารสารสุขภาพจิตแหงประเทศไทย 2562;27(1):37-51.
12. ความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นคู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญาเด็กอายุ 2-15 ปี ฉบับ พ.ศ. 2561. วารสารจิตวิทยาคลินิก 2563; 51(1): 15-29.
13. การปรับปรุงและพัฒนาแบบประเมินพฤติกรรม กลุ่มงานจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา 2564; 15(2): 38-55.
14. การสูญเสียปีสุขภาวะจากการเจ็บป่วยด้วยโรคกลุ่มจิตเวชเด็กและวัยรุ่น 3 โรคหลักในประเทศไทย. วารสารการสร้างเสริมสุขภาพไทย, ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566, 119-128
15. ระดับสติปัญญานักเรียนไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 : การสำรวจระดับชาติ พ.ศ. 2564. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2566;31(1):1-11.


งานวิจัยที่ได้นำเสนอในงานประชุมวิชาการ

1. รายงานการวิจัยเรื่องการหาค่าความเชื่อถือได้ (Reliability) ของแบบทดสอบเชาวน์ปัญญากลุ่มเวคสเลอร์ (WAIS – III). นำเสนอผลงานวิชาการประเภท Oral presentation ในการประชุมวิชาการสมาคมนักจิตวิทยาคลินิกไทย ประจำปี 2555 ครั้งที่ 36 เรื่อง จิตวิทยาทันยุค วันที่ 14-16 พฤศจิกายน 2555 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
2. Clinical characteristics of patients at Rajanukul institute in the year 2013. นำเสนอผลงานทางวิชาการประเภท Oral presentation ในการประชุมวิชาการนานาชาติเรื่อง “Developing the collaborative research platform and professional training workshops for community mental health in Southeast Asia” ระหว่างวันที่ 27 ตุลาคม – 3 พฤศจิกายน 2557 ประเทศไต้หวัน
3. ความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาพฤติกรรมในเด็กและวัยรุ่นไทย : การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี 2556. นำเสนอผลงานทางวิชาการประเภท Oral presentation ในการประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 14 และการประชุมวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็ก ครั้งที่ 12 ประจำปี 2558; 15-17 มิถุนายน 2558; โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น. กรุงเทพมหานคร
4. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อปัญหาพฤติกรรมในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 : การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์เด็กไทยวัยเรียน และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ปี พ.ศ. 2559. นำเสนอ ผลงานทางวิชาการประเภท Oral presentation ในการประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 16 และการประชุมวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็ก ครั้งที่ 14 เรื่อง “ซึมเศร้า...เราคุยกันได้” (Depression : let’s talk) วันที่ 2 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร
5. The validity and reliability of manual for the assessment of intellectual ability in Thai children aged 2-15 - B.E. 2561 edition (AIATC-2561) นำเสนอผลงานทางวิชาการประเภท Oral presentation ในการประชุมวิชาการนานาชาติครั้งที่ 20th WPA World Congress of Psychiatry หัวข้อ "Psychiatry in a Troubled World" วันที่ 10 - 13 มีนาคม 2564 ณ นำเสนอผลงานผ่านระบบการประชุมออนไลน์
6. Intelligence quotient (IQ) of Thai students in the first year of primary school: national survey 2021 นำเสนอผลงานทางวิชาการประเภท Oral presentation ในการประชุมวิชาการนานาชาติสมาคมนักจิตวิทยาคลินิกไทย ประจำปี พ.ศ. 2565 เรื่อง “จิตวิทยาทางไกลในทศวรรษใหม่ E-Mental Health Services and Cyber Psychology” วันที่ 19-21 ธันวาคม 2565 นที่ 20 ธันวาคม 2565 ณ โรงแรม ทีเค พาเลซ โฮเตล จังหวัดนนทบุรี ด้วยระบบ HYBRID
7. Emotional quotient (EQ) of Thai students in the first year of primary school: national survey 2021 นำเสนอผลงานทางวิชาการประเภท Poster presentation ในการประชุมวิชาการนานาชาติสมาคมนักจิตวิทยาคลินิกไทย ประจำปี พ.ศ. 2565 เรื่อง “จิตวิทยาทางไกลในทศวรรษใหม่ E-Mental Health Services and Cyber Psychology” วันที่ 19-21 ธันวาคม 2565 นที่ 20 ธันวาคม 2565 ณ โรงแรม ทีเค พาเลซ โฮเตล จังหวัดนนทบุรี ด้วยระบบ HYBRID


หนังสือ บทความหรือเอกสารวิชาการ

1. บทความแปล เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม : เทคนิคการเสริมแรงทางบวก (วารสารราชานุกูล พ.ศ. 2537)
2. บทความแปลเรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม : เทคนิคการเสริมแรงทางบวก และการขจัดพฤติกรรมด้วยวิธีการไม่ให้สิ่งเสริมแรง (Extinction) (วารสารราชานุกูล พ.ศ. 2539)
3. บทความ เรื่องพฤติกรรมกับความเครียด (วารสารหมออนามัย พ.ศ. 2540)
4. บทความ เรื่องเวลากับความเป็นคู่สร้างคู่สม (วารสารหมออนามัย พ.ศ. 2540)
5. บทความแปล เรื่ององค์การอนามัยโลกกับงานสุขภาพจิตเด็ก (วารสารราชานุกูล พ.ศ. 2541)
6. บทความแปล เรื่อง The Science of Meditation (วารสารราชานุกูล พ.ศ. 2544)
7. หนังสือ เรื่องการพัฒนาพฤติกรรมเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า (2548)


การสอน บรรยาย สัมภาษณ์

1. วิทยากร บรรยายหัวข้อวิชาการประเมินทางจิตวิทยาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในหลักสูตรการฝึกอบรมและศึกษาดูงานของแพทย์ประจำบ้าน สถาบันราชานุกูล
2. วิทยากร บรรยายหัวข้อวิชาการตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยาคลินิกในเด็กและการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ในหลักสูตร “การฝึกปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาคลินิก” คณะกรรมการวิชาชีพ สาขาจิตวิทยาคลินิก
3. วิทยากร บรรยายหัวข้อวิชาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเด็กบกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา ในหลักสูตรการฝึกภาคปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับนักจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล
4. วิทยากร ผู้วิพากษ์โครงร่างการวิจัย ในหลักสูตร R2R สถาบันราชานุกูล
5. อาจารย์พิเศษ สอนวิชา Objective tests ภาคจิตวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการศึกษา

ปี พ.ศ. 2530

สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คุณวุฒิ วิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขา จิตวิทยา

ปี พ.ศ. 2545

สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุณวุฒิ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขา เวชศาสตร์ชุมชน

ประวัติการทำงาน

ปี พ.ศ. 2531-ปัจจุบัน

หน่วยงาน สถาบันราชานุกูล
ตำแหน่ง นักจิตวิทยาคลินิกเชี่ยวชาญ


 วันนี้ 0
 เมื่อวาน 13
 สัปดาห์นี้ 62
 สัปดาห์ก่อน 97
 เดือนนี้ 345
 เดือนก่อน 536
 จำนวนผู้เข้าชม 476,781
  Your IP : 3.215.183.194